วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
การสอนของอาจารย์ พงษ์เเละอาจารย์กวาง
อาจารย์สอนดีในเเต่ละชั่วโมงมีการเเบ่งเนื้อหาที่เรียนในเเต่ละอาทิตยืได้ดีเเยกบทเรียนทำให้เรียนทัน เเละในเเต่ละบทเรียนจะมีสื่อ Power Poine มาใช้ประกอบการเรียนการสอนด้วยทำให้เข้าใจมากขึ้นเเละมีใบงานหรือใบความรู้ให้ฝึกความเข้าใจด้วย ทำให้เรียนเเล้วเข้าใจ อาจารย์สอนโดยพูดภาษาอังกฤษ(ถึงจะฟังไม่รู้เรื่อง)เเต่ก็ได้ฝึกฟังบ้างเเต่คิดว่าถ้าพูดไทยจะเข้าใจมากกว่า เเละสิ่งที่คิดว่าอาจารย์น่าจะเพิ่มก็น่าจะเป็นการจดบันทึกเวลาเรียนในสมุดในบทเรียนที่สำคัญ (ก็น่าจะจำได้มากขึ้นในบทเรียนที่ต้องจำเยอะ)
การใช้ do,does
การใช้ do,does
ในประโยคปัจจุบันกาล(present simple tense) ถ้าต้องการทำให้เป็นประโยคคำถามหรือปฏิเสธ จะใช้ do หรือ does มาช่วย จะใช้ do หรือ does ขึ้นอยู่กับประธานเช่น
ถ้าประธานเป็น I ใช้ do ในคำถาม และใช้ don’t ใน ปฏิเสธ
We ใช้ do ในคำถาม ใช้ don’t ในปฏิเสธ
You ใช้ do ในคำถาม ใช้ don’t ในปฏิเสธ
They ใช้ do ในคำถาม ใช้ don’t ในปฏิเสธ
นามพหูพจน์ ใช้ do ในคำถาม ใช้ don’t ในปฏิเสธ
ถ้าประธานเป็น He ใช้ does ในคำถาม และใช้ doesn’t ในปฏิเสธ
She ใช้ does ในคำถาม ใช้ doesn’t ในปฏิเสธ
It ใช้ does ในคำถาม ใช้ doesn’t ในปฏิเสธ
นามเอกพจน์ ใช้ does ในคำถาม ใช้ doesn’t ในปฏิเสธ
เช่น ถามว่าเขาสูบบุหรี่ไหม? = Does he smoke?
ถ้าต้องการพูดว่า “ฉันไม่เข้าใจ” = I don’t understand.
ในประโยคปัจจุบันกาล(present simple tense) ถ้าต้องการทำให้เป็นประโยคคำถามหรือปฏิเสธ จะใช้ do หรือ does มาช่วย จะใช้ do หรือ does ขึ้นอยู่กับประธานเช่น
ถ้าประธานเป็น I ใช้ do ในคำถาม และใช้ don’t ใน ปฏิเสธ
We ใช้ do ในคำถาม ใช้ don’t ในปฏิเสธ
You ใช้ do ในคำถาม ใช้ don’t ในปฏิเสธ
They ใช้ do ในคำถาม ใช้ don’t ในปฏิเสธ
นามพหูพจน์ ใช้ do ในคำถาม ใช้ don’t ในปฏิเสธ
ถ้าประธานเป็น He ใช้ does ในคำถาม และใช้ doesn’t ในปฏิเสธ
She ใช้ does ในคำถาม ใช้ doesn’t ในปฏิเสธ
It ใช้ does ในคำถาม ใช้ doesn’t ในปฏิเสธ
นามเอกพจน์ ใช้ does ในคำถาม ใช้ doesn’t ในปฏิเสธ
เช่น ถามว่าเขาสูบบุหรี่ไหม? = Does he smoke?
ถ้าต้องการพูดว่า “ฉันไม่เข้าใจ” = I don’t understand.
หลักเกณฑ์การเติม ed
การออกเสียง - ed ขึ้นอยู่กับเสียงสุดท้ายของคำกริยาก่อนเติม ed ดังนี้
1. - ed ออกเสียง / ld / (อิ้ด) , อึ้ด หรือ /d/ (เอ็ด) ถ้าเสียงสุดท้ายเป็น /t/ และ /d/ เช่น
want ลงท้ายด้วยเสียง / t / wanted /ld/ หรือ /d/ อ่านว่า ว้อนทิ้ด, ว้อนทึ้ด หรือ ว้อนเท็ด
need ลงท้ายด้วยเสียง /ld/ หรือ /d/ อ่านว่า นีดดิ้ด, นีดดึ้ด หรือ นีดเด็ด
end ลงท้ายด้วยเสียง /d/ ended /ld / หรือ /d/ อ่านว่า เอ็นดิ้ด, เอ็นดึ้ดหรือ เอ็นเด็ด
หลักเกณฑ์การเติม ed ที่คำกริยา มีหลักเกณฑ์ดังนี้
1. กริยาที่ลงท้าย e อยู่แล้วให้เติม d ได้เลย เช่น
love - loved = รัก
move - moved = เคลื่อน
2. กริยาที่ลงท้ายด้วย y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น i เสียก่อนแล้วจึงเติม ed เช่น
cry - cried = ร้องไห้
try - tried = พยายาม
marry - married = แต่งงาน
3. กริยาที่ลงท้ายด้วย y แต่หน้า y เป็นสระ ให้เติม ed ได้เลย ไม่ต้องเปลี่ยน y เป็นอะไรทั้งสิ้น
play - played = เล่น
enjoy - enjoyed = ร่าเริง, สนุก
stay - stayed = พัก, อาศัย
4.กริยาที่มีเพียงพยางค์เดียวและลงท้ายด้วยพยัญชนะที่เป็นตัวสะกดตัวเดียวให้เพิ่มพยัญชนะที่ลงท้ายนั้นเข้าไปอีก 1 ตัวเสียก่อน แล้วจึงเติม ed เช่น
hop - hopped = กระโดด
plan - planned = วางแผนการ
stop - stopped = หยุด
5.กริยามีเสียง2พยางค์แต่ลงเสียงหนักพยางค์หลังและพยางค์หลังนั้นมีสระตัวเดียวลงท้ายด้วยตัวสะกดตัวเดียว ต้องเพิ่มพยัญชนะที่ลงท้ายนั้นเข้าไปอีก 1 ตัวเสียก่อน แล้วจึงเติม ed เช่น
concur - concurred = ตกลง, เห็นด้วย
refer - referred = อ้างถึง
permit - permitted = อนุญาต
ยกเว้น : ถ้าออกเสียงหนักที่พยางค์แรก ไม่ต้องซ้อนพยัญชนะตัวสุดท้ายเข้ามา เช่น
cover - covered = ปกคลุม
open - opened = เปิด
gather - gathered = รวม, จับกลุ่ม
6. นอกจากกฎที่กล่าวมาตั้งแต่ 1 ถึง 5 แล้ว เมื่อต้องการให้เป็นช่องที่ 2 ให้เติม ed ได้เลยเช่น
walk - walked = เดิน
work - worked = ทำงาน
end - ended = จบ
1. - ed ออกเสียง / ld / (อิ้ด) , อึ้ด หรือ /d/ (เอ็ด) ถ้าเสียงสุดท้ายเป็น /t/ และ /d/ เช่น
want ลงท้ายด้วยเสียง / t / wanted /ld/ หรือ /d/ อ่านว่า ว้อนทิ้ด, ว้อนทึ้ด หรือ ว้อนเท็ด
need ลงท้ายด้วยเสียง /ld/ หรือ /d/ อ่านว่า นีดดิ้ด, นีดดึ้ด หรือ นีดเด็ด
end ลงท้ายด้วยเสียง /d/ ended /ld / หรือ /d/ อ่านว่า เอ็นดิ้ด, เอ็นดึ้ดหรือ เอ็นเด็ด
หลักเกณฑ์การเติม ed ที่คำกริยา มีหลักเกณฑ์ดังนี้
1. กริยาที่ลงท้าย e อยู่แล้วให้เติม d ได้เลย เช่น
love - loved = รัก
move - moved = เคลื่อน
2. กริยาที่ลงท้ายด้วย y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น i เสียก่อนแล้วจึงเติม ed เช่น
cry - cried = ร้องไห้
try - tried = พยายาม
marry - married = แต่งงาน
3. กริยาที่ลงท้ายด้วย y แต่หน้า y เป็นสระ ให้เติม ed ได้เลย ไม่ต้องเปลี่ยน y เป็นอะไรทั้งสิ้น
play - played = เล่น
enjoy - enjoyed = ร่าเริง, สนุก
stay - stayed = พัก, อาศัย
4.กริยาที่มีเพียงพยางค์เดียวและลงท้ายด้วยพยัญชนะที่เป็นตัวสะกดตัวเดียวให้เพิ่มพยัญชนะที่ลงท้ายนั้นเข้าไปอีก 1 ตัวเสียก่อน แล้วจึงเติม ed เช่น
hop - hopped = กระโดด
plan - planned = วางแผนการ
stop - stopped = หยุด
5.กริยามีเสียง2พยางค์แต่ลงเสียงหนักพยางค์หลังและพยางค์หลังนั้นมีสระตัวเดียวลงท้ายด้วยตัวสะกดตัวเดียว ต้องเพิ่มพยัญชนะที่ลงท้ายนั้นเข้าไปอีก 1 ตัวเสียก่อน แล้วจึงเติม ed เช่น
concur - concurred = ตกลง, เห็นด้วย
refer - referred = อ้างถึง
permit - permitted = อนุญาต
ยกเว้น : ถ้าออกเสียงหนักที่พยางค์แรก ไม่ต้องซ้อนพยัญชนะตัวสุดท้ายเข้ามา เช่น
cover - covered = ปกคลุม
open - opened = เปิด
gather - gathered = รวม, จับกลุ่ม
6. นอกจากกฎที่กล่าวมาตั้งแต่ 1 ถึง 5 แล้ว เมื่อต้องการให้เป็นช่องที่ 2 ให้เติม ed ได้เลยเช่น
walk - walked = เดิน
work - worked = ทำงาน
end - ended = จบ
หลักการเติม ing
หลักการเติม ing ที่กริยาช่อง 1 (Verb 1) ทำได้ดังนี้
1. เติม ing หลังคำกริยาทั่วไปได้เลย เช่น
go - going ไป
cook - cooking ปรุงอาหาร
stand - standing ยืน
read - reading อ่าน
play - playing เล่น
2. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย e ให้ตัด e ทิ้ง ก่อนเติม ing เช่น
write - writing เขียน
ride - riding ขี่
drive - driving ขับ
bake - baking อบ
come - coming มา
3. กริยาที่ลงท้ายด้วย ee ให้เติม -ing ได้เลย เช่น
flee - fleeing หนี
see - seeing เห็น
agree - agreeing เห็นด้วย
free - freeing ปล่อยเป็นอิสระ
4. คำกริยาที่มีพยางค์เดียว มีสระเสียงสั้น มีตัวสะกดตัวเดียวให้เติมตัวท้ายอีกหนึ่งตัวก่อนที่จะเติม –ing เช่น
run - running วิ่ง
sit - sitting นั่ง
swim - swimming ว่ายน้ำ
hit - hitting ตี
put - putting วาง
5. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย ie ให้เปลี่ยนเป็น y ก่อนเติม ing เช่น
lie - lying โกหก
die - dying ตาย
tie - tying ผูก, มัด
หมายเหตุ ski - skiing หรือ ski-ing (เล่นสกี)
6. กริยาที่มี 2 พยางค์ที่ออกเสียงหนักที่พยางค์หลัง และพยางค์หลังมีสระและตัวสะกดตัวเดียว
ต้องเพิ่มตัวสะกด แล้วเติม –ing เช่น
begin - beginning เริ่มต้น
occur - occurring เกิดขึ้น
refer - referring อ้างถึง
7. กริยา 2 พยางค์ต่อไปนี้ เพิ่มตัวสะกดเข้ามาแล้วเติม -ing หรือไม่เติมก็ได้ เช่น
[แบบอังกฤษ] : travel - travelling ท่องเที่ยว
quarrel - quarrelling ทะเลาะ
[แบบอเมริกัน] : travel - traveling ท่องเที่ยว
quarrel - quarreling ทะเลาะ
1. เติม ing หลังคำกริยาทั่วไปได้เลย เช่น
go - going ไป
cook - cooking ปรุงอาหาร
stand - standing ยืน
read - reading อ่าน
play - playing เล่น
2. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย e ให้ตัด e ทิ้ง ก่อนเติม ing เช่น
write - writing เขียน
ride - riding ขี่
drive - driving ขับ
bake - baking อบ
come - coming มา
3. กริยาที่ลงท้ายด้วย ee ให้เติม -ing ได้เลย เช่น
flee - fleeing หนี
see - seeing เห็น
agree - agreeing เห็นด้วย
free - freeing ปล่อยเป็นอิสระ
4. คำกริยาที่มีพยางค์เดียว มีสระเสียงสั้น มีตัวสะกดตัวเดียวให้เติมตัวท้ายอีกหนึ่งตัวก่อนที่จะเติม –ing เช่น
run - running วิ่ง
sit - sitting นั่ง
swim - swimming ว่ายน้ำ
hit - hitting ตี
put - putting วาง
5. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย ie ให้เปลี่ยนเป็น y ก่อนเติม ing เช่น
lie - lying โกหก
die - dying ตาย
tie - tying ผูก, มัด
หมายเหตุ ski - skiing หรือ ski-ing (เล่นสกี)
6. กริยาที่มี 2 พยางค์ที่ออกเสียงหนักที่พยางค์หลัง และพยางค์หลังมีสระและตัวสะกดตัวเดียว
ต้องเพิ่มตัวสะกด แล้วเติม –ing เช่น
begin - beginning เริ่มต้น
occur - occurring เกิดขึ้น
refer - referring อ้างถึง
7. กริยา 2 พยางค์ต่อไปนี้ เพิ่มตัวสะกดเข้ามาแล้วเติม -ing หรือไม่เติมก็ได้ เช่น
[แบบอังกฤษ] : travel - travelling ท่องเที่ยว
quarrel - quarrelling ทะเลาะ
[แบบอเมริกัน] : travel - traveling ท่องเที่ยว
quarrel - quarreling ทะเลาะ
Past Tenses
Past Simple Tense ใช้แสดงถึงเหตุการณ์หรือการกระทำที่เกิดขึ้นในอดีตและได้สิ้นสุดลงแล้ว โดยมีโครงสร้างประโยคดังนี้
Subject + verb ช่องที่ 2
หลักการใช้ Past Simple Tense
1. ใช้แสดงถึงการกระทำหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตและสิ้นสุดลงแล้ว โดยจะระบุเวลาไว้อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น
- Mark arrived at 7 o'clock yesterday.
- Joe bought a new car last week.
- The train stopped five minutes ago.
- They studied French last term.
2. ใช้แสดงถึงการกระทำที่เป็นนิสัยหรือเกิดขึ้นเป็นประจำในอดีต แต่ไม่ได้เกิดขึ้นแล้วในปัจจุบัน มักมี adverbs of frequency ที่แสดงความบ่อยรวมอยู่ในประโยคเช่น always, usually, often, every........เป็นต้น และต้องมีคำบอกเวลาในอดีตแสดงไว้ด้วย ตัวอย่างเช่น
- It often rained last week.
- He always played tennis last year.
- Jim drank coffee every two hours last night.
- They swam every evening last year.
3. ใน Past Simple Tense สามารถใช้ used to +คำกริยาช่องที่ 1 (เคย) แสดงถึงการกระทำที่กระทำอยู่ หรือที่เป็นอยู่เป็นประจำในอดีต ตัวอย่างเช่น
- Sam used to travel to Japan on business.
- She used to work here.
- They used to live in Chiang Mai.
หลักการเปลียนคำกริยาให้เป็น Past Tense
การเปลี่ยนรูปคำกริยาเป็น past tense มี 2 วิธี คือ
1, การเติม ed ที่ท้ายคำกริยาช่องที่ 1 (Regular Verb)
2. คำกริยาที่เปลี่ยนรูปใหม่ ( Irregular Verb)
หลักการเติมเติม ed ที่ท้ายคำกริยามีดังนี้
1.คำกริยาโดยทั่วไปเมื่อเปลี่ยนเป็นคำกริยาช่องที่ 2 ให้เติม ed ได้เลย เช่น
clean - cleaned
help - helped
watch - watched
2. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย e อยู่แล้ว ให้เติม d ได้ทันทีเช่น
like - liked
bake - baked
live - lived
3. คำกริยาที่เป็นพยางค์เดียว มีสระตัวเดียว ตัวสะกดตัวเดียว ให้เพิ่มตัวสะกดตัวท้ายอีกหนึ่งตัวก่อน แล้วจึงเติม ed เช่น
stop - stopped
fit - fitted
plan - planned
4. คำกริยาที่มี 2 พยางค์ ออกเสียงเน้นหนักพยางค์หลังให้เพิ่มตัวสะกดตัวท้ายอีกหนึ่งตัวก่อน แล้วจึงเติม ed
prefer - preferred
control - controlled
5. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย yและหน้า y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วจึงเติม ed เช่น
study - studied
cry - cried
carry - carried
แต่ถ้าหน้า y เป็นสระให้เติม ed ได้เลย เช่น
play played
stay - stayed
การทำเป็นประโยคคำถาม
1. ให้สังเกตว่าในประโยคมีกริยาช่วยหรือไม่ ถ้ามีให้นำกริยาช่วยมาวางไว้หน้าประโยคและใส่ เครื่องหมาย ?(question mark)ดังนี้
- He was in the bathroom five minutes ago.
Was he in the bathroom five minutes ago?
Yes, he was./No,he wasn't.
2. ถ้าในประโยคนั้นไม่มีกริยาช่วย ให้ใช้ did มาช่วย ( ประธานทุกตัวใช้ did) โดยนำ did มาวางไว้หน้าประโยค ตามด้วยประธานและกริยาต้องอยู่ในรูปเดิม( ช่องที่ 1) ท้ายประโยคใส่เครื่องหมาย?(question mark)
Cathy lived with her parents.
Did Cathy live with her parents?
Yes, she did. / No, she didn't.
การทำให้เป๋นประโยคปฏิเสธ
1. ถ้าในประโยคมีกริยาช่วยให้ใส่ not หลังกริยาช่วยนั้น เช่น
I was tired.
I was not tired หรือ I wasn't tired.
2. ถ้าไม่มีกริยาช่วยให้ใช้ did มาช่วย (ประธานทุกตัวใช้ did) แล้วใส่ not หลัง did และกริยาช่องที 2 ต้องเปลี่ยนเป็นกริยาช่องที่ 1
Ben danced yesterday.
Ben did not(didn't) dance yesterday.
Angela saw the denteist last week.
Angela did not (didn't) see the dentist last week.
Subject + verb ช่องที่ 2
หลักการใช้ Past Simple Tense
1. ใช้แสดงถึงการกระทำหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตและสิ้นสุดลงแล้ว โดยจะระบุเวลาไว้อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น
- Mark arrived at 7 o'clock yesterday.
- Joe bought a new car last week.
- The train stopped five minutes ago.
- They studied French last term.
2. ใช้แสดงถึงการกระทำที่เป็นนิสัยหรือเกิดขึ้นเป็นประจำในอดีต แต่ไม่ได้เกิดขึ้นแล้วในปัจจุบัน มักมี adverbs of frequency ที่แสดงความบ่อยรวมอยู่ในประโยคเช่น always, usually, often, every........เป็นต้น และต้องมีคำบอกเวลาในอดีตแสดงไว้ด้วย ตัวอย่างเช่น
- It often rained last week.
- He always played tennis last year.
- Jim drank coffee every two hours last night.
- They swam every evening last year.
3. ใน Past Simple Tense สามารถใช้ used to +คำกริยาช่องที่ 1 (เคย) แสดงถึงการกระทำที่กระทำอยู่ หรือที่เป็นอยู่เป็นประจำในอดีต ตัวอย่างเช่น
- Sam used to travel to Japan on business.
- She used to work here.
- They used to live in Chiang Mai.
หลักการเปลียนคำกริยาให้เป็น Past Tense
การเปลี่ยนรูปคำกริยาเป็น past tense มี 2 วิธี คือ
1, การเติม ed ที่ท้ายคำกริยาช่องที่ 1 (Regular Verb)
2. คำกริยาที่เปลี่ยนรูปใหม่ ( Irregular Verb)
หลักการเติมเติม ed ที่ท้ายคำกริยามีดังนี้
1.คำกริยาโดยทั่วไปเมื่อเปลี่ยนเป็นคำกริยาช่องที่ 2 ให้เติม ed ได้เลย เช่น
clean - cleaned
help - helped
watch - watched
2. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย e อยู่แล้ว ให้เติม d ได้ทันทีเช่น
like - liked
bake - baked
live - lived
3. คำกริยาที่เป็นพยางค์เดียว มีสระตัวเดียว ตัวสะกดตัวเดียว ให้เพิ่มตัวสะกดตัวท้ายอีกหนึ่งตัวก่อน แล้วจึงเติม ed เช่น
stop - stopped
fit - fitted
plan - planned
4. คำกริยาที่มี 2 พยางค์ ออกเสียงเน้นหนักพยางค์หลังให้เพิ่มตัวสะกดตัวท้ายอีกหนึ่งตัวก่อน แล้วจึงเติม ed
prefer - preferred
control - controlled
5. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย yและหน้า y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วจึงเติม ed เช่น
study - studied
cry - cried
carry - carried
แต่ถ้าหน้า y เป็นสระให้เติม ed ได้เลย เช่น
play played
stay - stayed
การทำเป็นประโยคคำถาม
1. ให้สังเกตว่าในประโยคมีกริยาช่วยหรือไม่ ถ้ามีให้นำกริยาช่วยมาวางไว้หน้าประโยคและใส่ เครื่องหมาย ?(question mark)ดังนี้
- He was in the bathroom five minutes ago.
Was he in the bathroom five minutes ago?
Yes, he was./No,he wasn't.
2. ถ้าในประโยคนั้นไม่มีกริยาช่วย ให้ใช้ did มาช่วย ( ประธานทุกตัวใช้ did) โดยนำ did มาวางไว้หน้าประโยค ตามด้วยประธานและกริยาต้องอยู่ในรูปเดิม( ช่องที่ 1) ท้ายประโยคใส่เครื่องหมาย?(question mark)
Cathy lived with her parents.
Did Cathy live with her parents?
Yes, she did. / No, she didn't.
การทำให้เป๋นประโยคปฏิเสธ
1. ถ้าในประโยคมีกริยาช่วยให้ใส่ not หลังกริยาช่วยนั้น เช่น
I was tired.
I was not tired หรือ I wasn't tired.
2. ถ้าไม่มีกริยาช่วยให้ใช้ did มาช่วย (ประธานทุกตัวใช้ did) แล้วใส่ not หลัง did และกริยาช่องที 2 ต้องเปลี่ยนเป็นกริยาช่องที่ 1
Ben danced yesterday.
Ben did not(didn't) dance yesterday.
Angela saw the denteist last week.
Angela did not (didn't) see the dentist last week.
วันอังคารที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
Nouns
Nouns
เอกพจน์/พหูพจน์ (Singular/Plural)
ดังที่ได้กล่าวในบทเรื่อง Nouns แล้วว่า คำนามในภาษาอังกฤษที่เกียวกับการนับมี 2 ชนิดคือ
นามนับได้ ( countable nouns ) สามารถเป็นเอกพจน์ ( Singular ) หรือ พหูพจน์ ( Plural ) ได้
นามนับไม่ได้ ( uncountable nouns ) โดยทั่วไปเป็นเอกพจน์ ( Singular ) แต่มีข้อยกเว้นสำหรับบางคำสามารถทำให้เป็นพหูพจน์ ได้
ในบทนี้จะกล่าวถึงการทำให้เป็นพหูพจน์ของทั้งนามนับได้และนามนับไม่ได้ ซึ่งมีหลักกว้างๆคือ
นามนับได้ ส่วนใหญ่ทำให้เป็นพหูพจน์โดยการเติม - s ที่ท้ายคำ
นามนับไม่ได้โดยทั่วไป ทำเป็นพหูพจน์ไม่ได้ ( แต่มีข้อยกเว้น ซึ่งทำให้กลายเป็นคำนามที่ใช้อย่างนามนับได้ เช่น wine ปกติเป็นนามนับไม่ได้ แต่สามารถนำมาใช้แบบนับได้คือ wines หมายถึง เหล้าองุ่นชนิดต่างๆ )
หลักโดยทั่วไปของการทำให้เป็นพหูพจน์ มีดังนี้
เอกพจน์/พหูพจน์ (Singular/Plural)
ดังที่ได้กล่าวในบทเรื่อง Nouns แล้วว่า คำนามในภาษาอังกฤษที่เกียวกับการนับมี 2 ชนิดคือ
นามนับได้ ( countable nouns ) สามารถเป็นเอกพจน์ ( Singular ) หรือ พหูพจน์ ( Plural ) ได้
นามนับไม่ได้ ( uncountable nouns ) โดยทั่วไปเป็นเอกพจน์ ( Singular ) แต่มีข้อยกเว้นสำหรับบางคำสามารถทำให้เป็นพหูพจน์ ได้
ในบทนี้จะกล่าวถึงการทำให้เป็นพหูพจน์ของทั้งนามนับได้และนามนับไม่ได้ ซึ่งมีหลักกว้างๆคือ
นามนับได้ ส่วนใหญ่ทำให้เป็นพหูพจน์โดยการเติม - s ที่ท้ายคำ
นามนับไม่ได้โดยทั่วไป ทำเป็นพหูพจน์ไม่ได้ ( แต่มีข้อยกเว้น ซึ่งทำให้กลายเป็นคำนามที่ใช้อย่างนามนับได้ เช่น wine ปกติเป็นนามนับไม่ได้ แต่สามารถนำมาใช้แบบนับได้คือ wines หมายถึง เหล้าองุ่นชนิดต่างๆ )
หลักโดยทั่วไปของการทำให้เป็นพหูพจน์ มีดังนี้
วันพุธที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
การใช้ a few, few, a little, and little
การใช้ a few, few, a little, and little
Few แปลว่า 2-3 หรือ เล็กน้่อย
Little แปลว่า เล็กน้อย
Positive ที่ว่าหมายถึง ถ้าเนื้อหาที่พูดถึงเป็นแง่บวก ก็ให้ใช้ A few หรือ A little
Negative ที่ว่าหมายถึง ถ้าเนื้อหาที่พูดถึงเป็นแง่ลบ ก็ให้ใช้ few หรือ little
เช่น
I have very little money and I don’t have enough money to go home. (-)
ฉันมีเงินอยู่น้อยมาก และมันก็ไม่พอที่จะกลับบ้าน
การใช้ a few, a little และ a lot of
a few ( น้อย ,สองสาม) หมายความว่า พอมีอยู่บ้างเล็กน้อย หรือไม่มากนัก
ใช้นำหน้าคำนามที่นับได้พหูพจน์ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ
a few books a few cats a few cars a few people
There are a few books on the shelf.
There are a few cars in the parking.
The restaurant is nearly empty there were a few people.
a little (น้อย) แต่พอมีอยู่บ้างไม่มากนัก ใ ช้นำหน้าคำนามนับไม่ได้เอกพจน์ เช่น
จำนวนของสิ่งของที่มีปริมาณ หรือนไม่สามารถบอกจำนวนที่แน่นอนได้
a little money a little sugar a little knowledge a little respect
I have a little money, I can lend you some.
Please give me a little sugar
a lot of (จำนวนมาก) ใช้นำหน้าคำนามพหูพจน์+กริยาพหูพจน์ เช่น
A lot of glasses are in the cupboard.
There are a lot of people in the meeting room.
ใช้นำหน้าคำนามนับไม่ได้+ กริยาเอกพจน์ เช่น
He drinks a lot of water because he is tired.
If you work hard, you will get a lot of money.
Few แปลว่า 2-3 หรือ เล็กน้่อย
Little แปลว่า เล็กน้อย
Positive ที่ว่าหมายถึง ถ้าเนื้อหาที่พูดถึงเป็นแง่บวก ก็ให้ใช้ A few หรือ A little
Negative ที่ว่าหมายถึง ถ้าเนื้อหาที่พูดถึงเป็นแง่ลบ ก็ให้ใช้ few หรือ little
เช่น
I have very little money and I don’t have enough money to go home. (-)
ฉันมีเงินอยู่น้อยมาก และมันก็ไม่พอที่จะกลับบ้าน
การใช้ a few, a little และ a lot of
a few ( น้อย ,สองสาม) หมายความว่า พอมีอยู่บ้างเล็กน้อย หรือไม่มากนัก
ใช้นำหน้าคำนามที่นับได้พหูพจน์ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ
a few books a few cats a few cars a few people
There are a few books on the shelf.
There are a few cars in the parking.
The restaurant is nearly empty there were a few people.
a little (น้อย) แต่พอมีอยู่บ้างไม่มากนัก ใ ช้นำหน้าคำนามนับไม่ได้เอกพจน์ เช่น
จำนวนของสิ่งของที่มีปริมาณ หรือนไม่สามารถบอกจำนวนที่แน่นอนได้
a little money a little sugar a little knowledge a little respect
I have a little money, I can lend you some.
Please give me a little sugar
a lot of (จำนวนมาก) ใช้นำหน้าคำนามพหูพจน์+กริยาพหูพจน์ เช่น
A lot of glasses are in the cupboard.
There are a lot of people in the meeting room.
ใช้นำหน้าคำนามนับไม่ได้+ กริยาเอกพจน์ เช่น
He drinks a lot of water because he is tired.
If you work hard, you will get a lot of money.
Be going to
หลักการใช้ (be) going to แทน will หรือ shall ทำได้ ดังนี้
1. ใช้ (be) going to + V1 แสดงความตั้งใจ แทน will และ shall เช่น
2. ใช้ (be) going to + V1 แสดงการคาดคะเน แทน will และ shall เช่น
3. ใช้ (be) going to + V1 แสดงข้อความซึ่งเชื่อว่าเป็นจริงโดยไม่สงสัย แทน will และ shall เช่น
การใช้ will/ be going to1. will และ be going to เป็นโครงสร้างที่ใช้แสดงอนาคตกาล
2. โครงสร้าง be going to ใช้ในความหมายของความตั้งใจจะกระทำจริงๆ ในอนาคตมากกว่าโครงสร้าง will
3. โครงสร้าง will/ be going to ต้องตามด้วยกริยาแท้ที่ไม่กระจายเสมอ
Talking about future actions Future ( will) Future ( be going to )
- Jane 's bycycle has a flat tyre. She tells her father.
Jane : My bicycle has a flat tyre.
Can you repair it for me ?
Father : Okay ,but I can't do it now.
I will repair it tomorrow.
** เราใช้ will
เมือเราตัดสินใจที่จะทำบางสิ่งในช่วงเวลาที่พูด ผู้พูดไม่ได้ตัดสินใจมาก่อนล่วงหน้า ก่อนที่เจนบอกพ่อเขาไม่รู้มาก่อนว่ารถยางแบน. Later, Jane's mother speak to her husband.
Mother : Can you repair Jane's bicycle ? It has a flat tyre.
Father : Yes ,I know . she told me.
I am going to repair it tomorrow.
**เราใช้ be going to
เมื่อเราได้ตัดสินใจเรียบร้อยแล้วว่าจะทำ
บางสิ่งพ่อของเจนตัดสินใจไว้แล้วว่าจะ
ซ่อมจักรยานก่อนที่ภรรยาของเขาจะพูด
เรื่องนี้กับเขา
Saying what will happen ( prediction future happenings)
1. เราใช้ทั้ง will และ be going to เมื่อเราคาดการณ์ว่าสิ่งนั้นจะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น
- Do you think John will get the job ?
2.เราใช้ be going to
(เราจะไม่ใช้ willในสถานการณ์ปัจจุบันซึ่งแสดงว่าจะมีเหตุการณ์เกิดขึ้น
ในอนาคตอันใกล้ เช่น I feel terrible .I think I'm going to be sick.
( I feel terrrible now.)
จากหนังสือ On track 2
1. ใช้ (be) going to + V1 แสดงความตั้งใจ แทน will และ shall เช่น
2. ใช้ (be) going to + V1 แสดงการคาดคะเน แทน will และ shall เช่น
3. ใช้ (be) going to + V1 แสดงข้อความซึ่งเชื่อว่าเป็นจริงโดยไม่สงสัย แทน will และ shall เช่น
การใช้ will/ be going to1. will และ be going to เป็นโครงสร้างที่ใช้แสดงอนาคตกาล
2. โครงสร้าง be going to ใช้ในความหมายของความตั้งใจจะกระทำจริงๆ ในอนาคตมากกว่าโครงสร้าง will
3. โครงสร้าง will/ be going to ต้องตามด้วยกริยาแท้ที่ไม่กระจายเสมอ
Talking about future actions Future ( will) Future ( be going to )
- Jane 's bycycle has a flat tyre. She tells her father.
Jane : My bicycle has a flat tyre.
Can you repair it for me ?
Father : Okay ,but I can't do it now.
I will repair it tomorrow.
** เราใช้ will
เมือเราตัดสินใจที่จะทำบางสิ่งในช่วงเวลาที่พูด ผู้พูดไม่ได้ตัดสินใจมาก่อนล่วงหน้า ก่อนที่เจนบอกพ่อเขาไม่รู้มาก่อนว่ารถยางแบน. Later, Jane's mother speak to her husband.
Mother : Can you repair Jane's bicycle ? It has a flat tyre.
Father : Yes ,I know . she told me.
I am going to repair it tomorrow.
**เราใช้ be going to
เมื่อเราได้ตัดสินใจเรียบร้อยแล้วว่าจะทำ
บางสิ่งพ่อของเจนตัดสินใจไว้แล้วว่าจะ
ซ่อมจักรยานก่อนที่ภรรยาของเขาจะพูด
เรื่องนี้กับเขา
Saying what will happen ( prediction future happenings)
1. เราใช้ทั้ง will และ be going to เมื่อเราคาดการณ์ว่าสิ่งนั้นจะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น
- Do you think John will get the job ?
2.เราใช้ be going to
(เราจะไม่ใช้ willในสถานการณ์ปัจจุบันซึ่งแสดงว่าจะมีเหตุการณ์เกิดขึ้น
ในอนาคตอันใกล้ เช่น I feel terrible .I think I'm going to be sick.
( I feel terrrible now.)
จากหนังสือ On track 2
การใช้ So am I, So do I, Neither am I, Neither do I, Nor do I
การใช้ So am I, So do I, Neither am I, Neither do I, Nor do I และอื่นๆ
เรื่องนี้เป็นการแสดงการเห็นด้วย หรือ ไม่เห็นด้วย โดยการใช้ So, neither และ nor
การแสดงการเห็นด้วย รูปแบบ คือ
So + V ช่วย + ประธาน (แปลว่า …ด้วยเหมือนกัน)
เช่น
‘I am so hungry.’ ‘So am I.’ So am I แปลว่า ฉันก็หิวด้วยเหมือนกัน
‘I love this job.’ ‘So do I.’ So do I แปลว่า ฉันก็รักงานนี้ด้วยเหมือนกัน
หรือ จะแค่พูดว่า Me either (ฉันก็ด้วยเหมือนกัน / ฉันก็่เช่นกัน) ก็ได้
เช่น ‘I am so hungry.’ ‘Me either.’
———————————————————————–
การแสดงการไม่เห็นด้วย รูปแบบ คือ
Neither/ Nor + V ช่วย + ประธาน (แปลว่า …ไม่ด้วยเหมือนกัน)
เช่น
‘I can’t swim.’ ‘Neither can I.’ Neither can I แปลว่า ฉันก็ว่ายน้ำไม่เป็นด้วยเหมือนกัน
‘I don’t like her.’ ‘Nor do I.’ Nor do I. แปลว่า ฉันก็ไม่ชอบเธอด้วยเหมือนกัน
‘I am not tired.’ ‘Neither am I.’ Neither am I แปลว่า ฉันก็ไม่เหนื่อยเหมือนกัน
หรือ จะแค่พูดว่า Me neither (ฉันก็ไม่ด้วยเหมือนกัน) ก็ได้
เช่น ‘I can’t swim.’ ‘Me neither.’
AUXILIARY VERB (กริยาช่วย (V ช่วย) หรือ helping verb)
กริยาช่วย คือกริยาที่นำไปช่วยตัวอื่นเพื่อสร้างให้เป็น tense, voice, หรือ mood
กริยาช่วยมีทั้งหมด 24 ตัว คือ
- v. to be – is, am ,are, was, were
- v. to have – has, have, had
- v. to do – do, does, did
- will, would
- shall, should
- can, could
- may, might
- must
- need
- dare
- ought to
- used to
เรื่องนี้เป็นการแสดงการเห็นด้วย หรือ ไม่เห็นด้วย โดยการใช้ So, neither และ nor
การแสดงการเห็นด้วย รูปแบบ คือ
So + V ช่วย + ประธาน (แปลว่า …ด้วยเหมือนกัน)
เช่น
‘I am so hungry.’ ‘So am I.’ So am I แปลว่า ฉันก็หิวด้วยเหมือนกัน
‘I love this job.’ ‘So do I.’ So do I แปลว่า ฉันก็รักงานนี้ด้วยเหมือนกัน
หรือ จะแค่พูดว่า Me either (ฉันก็ด้วยเหมือนกัน / ฉันก็่เช่นกัน) ก็ได้
เช่น ‘I am so hungry.’ ‘Me either.’
———————————————————————–
การแสดงการไม่เห็นด้วย รูปแบบ คือ
Neither/ Nor + V ช่วย + ประธาน (แปลว่า …ไม่ด้วยเหมือนกัน)
เช่น
‘I can’t swim.’ ‘Neither can I.’ Neither can I แปลว่า ฉันก็ว่ายน้ำไม่เป็นด้วยเหมือนกัน
‘I don’t like her.’ ‘Nor do I.’ Nor do I. แปลว่า ฉันก็ไม่ชอบเธอด้วยเหมือนกัน
‘I am not tired.’ ‘Neither am I.’ Neither am I แปลว่า ฉันก็ไม่เหนื่อยเหมือนกัน
หรือ จะแค่พูดว่า Me neither (ฉันก็ไม่ด้วยเหมือนกัน) ก็ได้
เช่น ‘I can’t swim.’ ‘Me neither.’
AUXILIARY VERB (กริยาช่วย (V ช่วย) หรือ helping verb)
กริยาช่วย คือกริยาที่นำไปช่วยตัวอื่นเพื่อสร้างให้เป็น tense, voice, หรือ mood
กริยาช่วยมีทั้งหมด 24 ตัว คือ
- v. to be – is, am ,are, was, were
- v. to have – has, have, had
- v. to do – do, does, did
- will, would
- shall, should
- can, could
- may, might
- must
- need
- dare
- ought to
- used to
วันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
Nouns ( Subject - Verb Agreement )
Nouns ( Subject - Verb Agreement )
ในประโยคภาษาอังกฤษ ประธานของประโยค ( Subject ) และการใช้คำกริยา (Verb ) จะต้องสอดคล้องกัน กล่าวคือ ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ กริยาต้องเป็นเอกพจน์ ถ้าประธานเป็นพหูพจน์ กริยาต้องเป็นพหูพจน์ ปัญหาสำหรับผู้เรียนคือ ไม่แน่ใจว่าประธานเป็นเอกพจน์หรือพหุพจน์ เช่น
government , committee ซึ่งเป็นได้ทั้งเอกพจน์ และพหูพจน์ แล้วแต่การใช้
furniture,money ดูน่าจะเป็นพหูพจน์ แต่ในภาษาอังกฤษคำเหล่านี้เป็นนามนับไม่ได้ มีความหมายเป็นเอกพจน์
police, people ใช้อย่างพหูพจน์เท่านั้น
เพราะฉะนั้น ผู้เรียนจะต้องทำความเข้าใจเรื่อง nouns รวมทั้งข้อยกเว้นต่างๆให้ถ่องแท้จึงจะสามารถใช้คำกริยาให้สอดคล้อง กับประธานได้อย่างถูกต้อง
หลักการใช้กริยาให้สอดคล้องกับประธาน
1. ประธานเป็นเอกพจน์ กริยาเป็นเอกพจน์ ประธานเป็นพหูพจน์ กริยาเป็นพหูพจน์
Jane lives in China. เจนอาศัยอยู่ในประเทศจีน
The Jones live in France. ครอบครัวโจนส์อาศัยอยู่ในประเทศฝรั่งเศส
2. กรณีมีประธาน 2 ตัว เชื่อมด้วย and โดยปกติถือเป็นพหูพจน์ กริยาจึงอยูในรูปพหูพจน์
Jean and David are moving back to Australia. เจนและเดวิด กำลังจะย้ายกลับไปประเทศออสเตรเลีย
3. กรณีมีประธาน 2 ตัว เชื่อมด้วย and แด่นำมาใช้โดยคิดเป็นหน่วยเดียวกัน ใช้กริยาเป็นเอกพจน์
Bread and butter has been my breakfast for years. ขนมปังและเนยเป็นอาหารมื้อเช้าของฉันมาหลายปีแล้ว
Honesty and truth is the best policy. ความซื่อสัตย์และความจริงเป็นนโยบายที่ดีที่สุด
Rice and curry is my daughter's favorite food. ข้าวแกงกะหรี่เป็นอาหารโปรดของลูกสาวฉัน
แต่ถ้าผู้พูดคิดว่าแยกกัน ก็จะมีความหมายเป็นพหูพจน์ เช่น
Rice and curry are what we have for lunch today. เรามีข้าวและแกงกะหรี่เป็นอาหารกลางวันวันนี้
4. ประธานที่มีคำนามมากกว่า 1 และเชื่อมด้วย and หากเป็นคนหรือสิ่งเดียวกัน จะมี article ที่ประธานตัวหน้าแห่งเดียว
หากเป็นคนละคนกันจะมี article ที่คำนามทั้งสอง เช่น
The manager and owner of this restaurant is my friend. ผู้จัดการและเจ้าของร้านอาหารนี้เป็นเพื่อนของฉัน ( คนเดียวกัน )
The manager and the owner of this restaurant are my friends. ผู้จัดการและเจ้าของร้านอาหารนี้เป็นเพื่อนของฉัน ( คนเละคน )
The black and white cat under the table is my cat. แมวขาวดำใต้โต๊ะนั้นเป็นแมวของฉัน ( ตัวเดียว )
The black and the white cat under the table are my cats. แมวขาวและแมวดำใต้โต๊ะนั้นเป็นแมวของฉัน ( 2 ตัว )
5.ประธานที่มีวลีหรือคำขยายต่อไปนี้ต่อท้าย จะใช้กริยาเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์นั้น ต้องยึดการใช้กริยาตามประธานตัวหน้าเป็นหลัก
accompanied by ( พร้อมด้วย ) in company with ( พร้อมด้วย )
along with ( พร้อมด้วย ) including ( รวมทั้ง )
as well as ( เช่นเดียวกับ ) like ( เช่นเดียวกับ )
besides (นอกจาก ) not ( ไม่ใช่ )
but ( ยกเว้น ) plus ( รวมทั้ง )
except ( ยกเว้น ) together with ( พร้อมด้วย )
excluding ( ไม่นับ ) with ( พร้อมกับ )
in addition to ( นอกจาก )
เช่น
John together with his colleagues has agreed to work late tonight to get the job finished. จอห์นพร้อมทั้งเพื่อนร่วมงานของเขาตกลงที่จะอยู่ทำงานดึกเพื่อให้งานเสร็จ ( ใช้กริยาตาม John )
Some people including my brother find cricket boring. คนบางคนรวมทั้งน้องชายฉันคิดว่าคริกเก็ต
( เป็นกีฬาที่คล้ายเบสบอลนิยมเล่นในประเทศอาณานิคมอังกฤษเช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย ปากีสถาน ) เป็นกีฬาที่น่าเบื่อ ( ใช้กริยาตาม some people)
6, ประโยคหรือวลีที่ขยายประธาน ไม่มีผลต่อการใช้กริยาของประธาน
John, with all his players, was on the field.
จอห์นพร้อมด้วยบรรดาผู้เล่นของเขาอยู่บนสนาม ( with all his players ขยายประธานคือ John )
Mr. Clark,like our other neighbors,is very helpful.
คุณคลาร์คก็ให้ความช่วยเหลือเราดีเหมือนคนอื่นๆ
7.คำต่อไปนี้ถือเป็นเอกพจน์ เมื่อมาเป็นประธานของประโยค ต้องใช้กริยาเอกพจน์เสมอ ได้แก่
anybody everybody someone
anyone everyone somebody
anything everything something
anywhere everywhere somewhere
each + นามเอกพจน์ either + นามเอกพจน์ neither +นามเอกพจน์
each of + นามพหูพจน์ either of + นามพหูพจน์ neither of +นามพหูพจน์
nobody every + นามเอกพจน์ nothing
เช่น
Is there anybody here who could speak Japanese? มีใครที่นี่พูดภาษาญี่ปุ่นได้บ้าง
Each of the lessons takes an hour. บทเรียนแต่ละบทใช้เวลา 1 ชั่วโมง
Somebody is in the room. มีใครบางคนในห้อง
Neither of my sisters is married. ไม่มีน้องสาวคนไหนของฉันแต่งงานเลย
Either of us is to clean up the house after the party tonight.
เราคนใดคนหนึ่งต้องทำความสะอาดบ้านหลังงานเลี้ยงคืนนี้
8.ประธานซึ่งเชื่อมด้วยคำต่อไปนี้ กริยาถือตามประธานตัวหลัง
or neither... nor
either....or not only......but also
เช่น
Neither the Priminister nor his representatives are to attend the meeting. ทั้งนายกรัฐมนตรีและผู้แทน ( ของนายก ฯ )ไม่ต้องเข้าร่วมการประชุม
Either the teachers or the principal is to blame for the accident. ไม่พวกครูก็ครูใหญ่ต้องรับผิดชอบในอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
Not only Jim but also his friends are coming to the party tonight. ไม่เพียงแต่จิมเท่านั้นที่มาร่วมงานเลี้ยง เพื่อนๆของเขาก็มาด้วย
หมายเหตุ ในกรณีประธาน 2 ตัว นิยมเอาประธานที่เป็นพหูพจน์ไว้ข้างหลังมากกว่า
9, คำ Indefinite Pronouns ต่อไปนี้ถ้าใช้แทนคำนามนับได้ ถือเป็นพหูพจน์เสมอ
all, both, (a) few, many, several, some
เช่น
All were ready to leave the party by midnight. ทั้งหมดพร้อมที่จะออกจากงานเลี้ยงตอนเที่ยงคืน
Few were in the audience to see the horrible play. มีคนดูละครห่วยๆนี้อยู่ไม่กี่คน
Many were invited to the lunch but only twelve showed up. มีคนไดัรับเชิญรับประทานอาหารกลางวันหลายคน แต่มีคนมาเพียง 12 คน
10.การใช้วลีบอกปริมาณ
1. วลีบอกปริมาณต่อไปนี้ถ้าตามด้วยนามเอกพจน์ต้องใช้ กริยาต้องใช้เอกพจน์ ถ้าตามด้วยนามพหูพจน์กริยาต้องใช้พหูพจน์
a lot of plenty of most of some of
lots of all of none of ...percent of
เช่น
I think a lot of English wine is too sweet. ฉันคิดว่า ไวน์ของอังกฤษจำนวนมากที่หวานเกินไป
( wine เป็น นามนับไม่ได้มีความหมายเป็นเอกพจน์
A lot of people are in the room, มีคนจำนวนมากในห้อง
( people มีรูปเอกพจน์คือไม่มี s แต่มีความหมายพหูพจน์จึงใช้ are ดูในเรื่อง Nouns -singular/plural
Some of my jewelry is missing. ของประดับมีค่าของฉันหายไปบางชิ้น
Some of my friends were at the airport to see me off เพื่อนบางคนไปส่งฉันที่สนามบิน
Ten per cent of the men have lung problems. สิบเปอเซนต์ของผู้ชายมีปัญหาเกี่ยวกับปอด
Ten per cent of the money is yours. เงินสิบเปอเซนต์เป็นของคุณ
2. วลีบอกปริมาณต่อไปนี้ใช้กับนามนับได้ที่เป็นพหูพจน์ และกริยาก็ต้องเป็นพหูพจน์ตามด้วยคือ
a number of many
a large number of a good many
a great number of a great many
เช่น
A number of students are playing football. นักเรียนจำนวนมากกำลังเล่นฟุตบอล
A large number of tourists get lost because of that sign. นักท่องเทียวจำนวนมากหลงทางเพราะป้ายนั้น
There are still a large number of problems to be solved. ยังมีปัญหาต้องแก้ไขอีกมาก
11.วลีบอกปริมาณต่อไปนี้ เมื่อใช้กับนามนับไม่ได้ กริยาต้องใช้รูปเอกพจน์ตลอดไป
much a large number of
a great deal of a large amount of
a good deal of a large quantity of
เช่น
Although a great deal of progress has been made in the development of spoken communication with computers, there are still a large number of problems to be solved.
หมายเหตุ แต่ the number of ตามด้วยนามพหูพจน์ และใช้กริยาเอกพจน์ เช่น
The number of students in the class is limited to twenty. จำนวนของนักเรียนในห้องจำกัดที่ยี่สิบคน
12.ประโยคที่มี who, which , that เป็น Relative Pronoun กริยาของ Relative Pronoun จะใช้รูปของเอกพจน์หรือพหูพจน์ ให้ถือเอาตามคำที่มันแทนซึ่งอยู่ข้างหน้า who, which , that เช่น
He is one of my friends who are millionaires. เขาเป็นเพื่อนคนหนึ่งของฉัน ( ในหลายๆคน ) ที่เป็นเศรษฐี
( ใช้ are เพราะ who ขยาย my friends )
13.ประธานที่ขึ้นต้นด้วย Infinitive Phrase ( วลีที่นำหน้าด้วย to ) หรือ gerund ( ing ) ถือว่าเป็นเอกพจน์ กริยาต้องเป็นรูปเอกพจน์ตาม เช่น
To see is to believe. ต้องได้เห็นจึงจะเชื่อได้ ( สิบปากว่า ไม่เท่าตาเห็น )
To distill a quart a moonshine takes two hours. การกลั่นเหล้าเถื่อน1ควอตใช้เวลา 2 ชั่วโมง
Winning the national championship is her most important achievement.
การชนะเลิศระดับชาติเป็นความสำเร็จที่สำคัญมากสำหรับเธอ
14.จำนวนเงินหรือมาตราต่างๆ เช่น ถือเป็นเอกพจน์ เช่น
Twenty thousand bahts is too high for this camera. ราคาสองหมื่นบาทสูงเกินไปสำหรับกล้องตัวนี้
Two hundred miles is a long way. สองร้อยไมล์เป็นระยะทางที่ไกลมาก
15.เศษส่วนของคำนามพหูพจน์เป็นพหูพจน์ เศษส่วนของคำนามเอกพจน์เป็นเอกพจน์
Two-thirds of the boys are absent. สองในสามของเด็กชายขาดเรียน
Two-thirds of the wall has been painted. สองในสามของฝาผนังได้ทาสีไปแล้ว
16.ชื่อหนังสือหรือบทความเป็นเอกพจน์ เช่น
Gulliver's travels was written by Swift. หนังสือเรื่องการเดินทางของกัลลิเวอร์ เขียนโดยสวิฟต์
***เอามาจากเว็บไซต์เเต่เป็นเนื้อหาที่เรียน คะ (สมุดทมี่จดไว้หายคะ) ***
ในประโยคภาษาอังกฤษ ประธานของประโยค ( Subject ) และการใช้คำกริยา (Verb ) จะต้องสอดคล้องกัน กล่าวคือ ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ กริยาต้องเป็นเอกพจน์ ถ้าประธานเป็นพหูพจน์ กริยาต้องเป็นพหูพจน์ ปัญหาสำหรับผู้เรียนคือ ไม่แน่ใจว่าประธานเป็นเอกพจน์หรือพหุพจน์ เช่น
government , committee ซึ่งเป็นได้ทั้งเอกพจน์ และพหูพจน์ แล้วแต่การใช้
furniture,money ดูน่าจะเป็นพหูพจน์ แต่ในภาษาอังกฤษคำเหล่านี้เป็นนามนับไม่ได้ มีความหมายเป็นเอกพจน์
police, people ใช้อย่างพหูพจน์เท่านั้น
เพราะฉะนั้น ผู้เรียนจะต้องทำความเข้าใจเรื่อง nouns รวมทั้งข้อยกเว้นต่างๆให้ถ่องแท้จึงจะสามารถใช้คำกริยาให้สอดคล้อง กับประธานได้อย่างถูกต้อง
หลักการใช้กริยาให้สอดคล้องกับประธาน
1. ประธานเป็นเอกพจน์ กริยาเป็นเอกพจน์ ประธานเป็นพหูพจน์ กริยาเป็นพหูพจน์
Jane lives in China. เจนอาศัยอยู่ในประเทศจีน
The Jones live in France. ครอบครัวโจนส์อาศัยอยู่ในประเทศฝรั่งเศส
2. กรณีมีประธาน 2 ตัว เชื่อมด้วย and โดยปกติถือเป็นพหูพจน์ กริยาจึงอยูในรูปพหูพจน์
Jean and David are moving back to Australia. เจนและเดวิด กำลังจะย้ายกลับไปประเทศออสเตรเลีย
3. กรณีมีประธาน 2 ตัว เชื่อมด้วย and แด่นำมาใช้โดยคิดเป็นหน่วยเดียวกัน ใช้กริยาเป็นเอกพจน์
Bread and butter has been my breakfast for years. ขนมปังและเนยเป็นอาหารมื้อเช้าของฉันมาหลายปีแล้ว
Honesty and truth is the best policy. ความซื่อสัตย์และความจริงเป็นนโยบายที่ดีที่สุด
Rice and curry is my daughter's favorite food. ข้าวแกงกะหรี่เป็นอาหารโปรดของลูกสาวฉัน
แต่ถ้าผู้พูดคิดว่าแยกกัน ก็จะมีความหมายเป็นพหูพจน์ เช่น
Rice and curry are what we have for lunch today. เรามีข้าวและแกงกะหรี่เป็นอาหารกลางวันวันนี้
4. ประธานที่มีคำนามมากกว่า 1 และเชื่อมด้วย and หากเป็นคนหรือสิ่งเดียวกัน จะมี article ที่ประธานตัวหน้าแห่งเดียว
หากเป็นคนละคนกันจะมี article ที่คำนามทั้งสอง เช่น
The manager and owner of this restaurant is my friend. ผู้จัดการและเจ้าของร้านอาหารนี้เป็นเพื่อนของฉัน ( คนเดียวกัน )
The manager and the owner of this restaurant are my friends. ผู้จัดการและเจ้าของร้านอาหารนี้เป็นเพื่อนของฉัน ( คนเละคน )
The black and white cat under the table is my cat. แมวขาวดำใต้โต๊ะนั้นเป็นแมวของฉัน ( ตัวเดียว )
The black and the white cat under the table are my cats. แมวขาวและแมวดำใต้โต๊ะนั้นเป็นแมวของฉัน ( 2 ตัว )
5.ประธานที่มีวลีหรือคำขยายต่อไปนี้ต่อท้าย จะใช้กริยาเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์นั้น ต้องยึดการใช้กริยาตามประธานตัวหน้าเป็นหลัก
accompanied by ( พร้อมด้วย ) in company with ( พร้อมด้วย )
along with ( พร้อมด้วย ) including ( รวมทั้ง )
as well as ( เช่นเดียวกับ ) like ( เช่นเดียวกับ )
besides (นอกจาก ) not ( ไม่ใช่ )
but ( ยกเว้น ) plus ( รวมทั้ง )
except ( ยกเว้น ) together with ( พร้อมด้วย )
excluding ( ไม่นับ ) with ( พร้อมกับ )
in addition to ( นอกจาก )
เช่น
John together with his colleagues has agreed to work late tonight to get the job finished. จอห์นพร้อมทั้งเพื่อนร่วมงานของเขาตกลงที่จะอยู่ทำงานดึกเพื่อให้งานเสร็จ ( ใช้กริยาตาม John )
Some people including my brother find cricket boring. คนบางคนรวมทั้งน้องชายฉันคิดว่าคริกเก็ต
( เป็นกีฬาที่คล้ายเบสบอลนิยมเล่นในประเทศอาณานิคมอังกฤษเช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย ปากีสถาน ) เป็นกีฬาที่น่าเบื่อ ( ใช้กริยาตาม some people)
6, ประโยคหรือวลีที่ขยายประธาน ไม่มีผลต่อการใช้กริยาของประธาน
John, with all his players, was on the field.
จอห์นพร้อมด้วยบรรดาผู้เล่นของเขาอยู่บนสนาม ( with all his players ขยายประธานคือ John )
Mr. Clark,like our other neighbors,is very helpful.
คุณคลาร์คก็ให้ความช่วยเหลือเราดีเหมือนคนอื่นๆ
7.คำต่อไปนี้ถือเป็นเอกพจน์ เมื่อมาเป็นประธานของประโยค ต้องใช้กริยาเอกพจน์เสมอ ได้แก่
anybody everybody someone
anyone everyone somebody
anything everything something
anywhere everywhere somewhere
each + นามเอกพจน์ either + นามเอกพจน์ neither +นามเอกพจน์
each of + นามพหูพจน์ either of + นามพหูพจน์ neither of +นามพหูพจน์
nobody every + นามเอกพจน์ nothing
เช่น
Is there anybody here who could speak Japanese? มีใครที่นี่พูดภาษาญี่ปุ่นได้บ้าง
Each of the lessons takes an hour. บทเรียนแต่ละบทใช้เวลา 1 ชั่วโมง
Somebody is in the room. มีใครบางคนในห้อง
Neither of my sisters is married. ไม่มีน้องสาวคนไหนของฉันแต่งงานเลย
Either of us is to clean up the house after the party tonight.
เราคนใดคนหนึ่งต้องทำความสะอาดบ้านหลังงานเลี้ยงคืนนี้
8.ประธานซึ่งเชื่อมด้วยคำต่อไปนี้ กริยาถือตามประธานตัวหลัง
or neither... nor
either....or not only......but also
เช่น
Neither the Priminister nor his representatives are to attend the meeting. ทั้งนายกรัฐมนตรีและผู้แทน ( ของนายก ฯ )ไม่ต้องเข้าร่วมการประชุม
Either the teachers or the principal is to blame for the accident. ไม่พวกครูก็ครูใหญ่ต้องรับผิดชอบในอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
Not only Jim but also his friends are coming to the party tonight. ไม่เพียงแต่จิมเท่านั้นที่มาร่วมงานเลี้ยง เพื่อนๆของเขาก็มาด้วย
หมายเหตุ ในกรณีประธาน 2 ตัว นิยมเอาประธานที่เป็นพหูพจน์ไว้ข้างหลังมากกว่า
9, คำ Indefinite Pronouns ต่อไปนี้ถ้าใช้แทนคำนามนับได้ ถือเป็นพหูพจน์เสมอ
all, both, (a) few, many, several, some
เช่น
All were ready to leave the party by midnight. ทั้งหมดพร้อมที่จะออกจากงานเลี้ยงตอนเที่ยงคืน
Few were in the audience to see the horrible play. มีคนดูละครห่วยๆนี้อยู่ไม่กี่คน
Many were invited to the lunch but only twelve showed up. มีคนไดัรับเชิญรับประทานอาหารกลางวันหลายคน แต่มีคนมาเพียง 12 คน
10.การใช้วลีบอกปริมาณ
1. วลีบอกปริมาณต่อไปนี้ถ้าตามด้วยนามเอกพจน์ต้องใช้ กริยาต้องใช้เอกพจน์ ถ้าตามด้วยนามพหูพจน์กริยาต้องใช้พหูพจน์
a lot of plenty of most of some of
lots of all of none of ...percent of
เช่น
I think a lot of English wine is too sweet. ฉันคิดว่า ไวน์ของอังกฤษจำนวนมากที่หวานเกินไป
( wine เป็น นามนับไม่ได้มีความหมายเป็นเอกพจน์
A lot of people are in the room, มีคนจำนวนมากในห้อง
( people มีรูปเอกพจน์คือไม่มี s แต่มีความหมายพหูพจน์จึงใช้ are ดูในเรื่อง Nouns -singular/plural
Some of my jewelry is missing. ของประดับมีค่าของฉันหายไปบางชิ้น
Some of my friends were at the airport to see me off เพื่อนบางคนไปส่งฉันที่สนามบิน
Ten per cent of the men have lung problems. สิบเปอเซนต์ของผู้ชายมีปัญหาเกี่ยวกับปอด
Ten per cent of the money is yours. เงินสิบเปอเซนต์เป็นของคุณ
2. วลีบอกปริมาณต่อไปนี้ใช้กับนามนับได้ที่เป็นพหูพจน์ และกริยาก็ต้องเป็นพหูพจน์ตามด้วยคือ
a number of many
a large number of a good many
a great number of a great many
เช่น
A number of students are playing football. นักเรียนจำนวนมากกำลังเล่นฟุตบอล
A large number of tourists get lost because of that sign. นักท่องเทียวจำนวนมากหลงทางเพราะป้ายนั้น
There are still a large number of problems to be solved. ยังมีปัญหาต้องแก้ไขอีกมาก
11.วลีบอกปริมาณต่อไปนี้ เมื่อใช้กับนามนับไม่ได้ กริยาต้องใช้รูปเอกพจน์ตลอดไป
much a large number of
a great deal of a large amount of
a good deal of a large quantity of
เช่น
Although a great deal of progress has been made in the development of spoken communication with computers, there are still a large number of problems to be solved.
หมายเหตุ แต่ the number of ตามด้วยนามพหูพจน์ และใช้กริยาเอกพจน์ เช่น
The number of students in the class is limited to twenty. จำนวนของนักเรียนในห้องจำกัดที่ยี่สิบคน
12.ประโยคที่มี who, which , that เป็น Relative Pronoun กริยาของ Relative Pronoun จะใช้รูปของเอกพจน์หรือพหูพจน์ ให้ถือเอาตามคำที่มันแทนซึ่งอยู่ข้างหน้า who, which , that เช่น
He is one of my friends who are millionaires. เขาเป็นเพื่อนคนหนึ่งของฉัน ( ในหลายๆคน ) ที่เป็นเศรษฐี
( ใช้ are เพราะ who ขยาย my friends )
13.ประธานที่ขึ้นต้นด้วย Infinitive Phrase ( วลีที่นำหน้าด้วย to ) หรือ gerund ( ing ) ถือว่าเป็นเอกพจน์ กริยาต้องเป็นรูปเอกพจน์ตาม เช่น
To see is to believe. ต้องได้เห็นจึงจะเชื่อได้ ( สิบปากว่า ไม่เท่าตาเห็น )
To distill a quart a moonshine takes two hours. การกลั่นเหล้าเถื่อน1ควอตใช้เวลา 2 ชั่วโมง
Winning the national championship is her most important achievement.
การชนะเลิศระดับชาติเป็นความสำเร็จที่สำคัญมากสำหรับเธอ
14.จำนวนเงินหรือมาตราต่างๆ เช่น ถือเป็นเอกพจน์ เช่น
Twenty thousand bahts is too high for this camera. ราคาสองหมื่นบาทสูงเกินไปสำหรับกล้องตัวนี้
Two hundred miles is a long way. สองร้อยไมล์เป็นระยะทางที่ไกลมาก
15.เศษส่วนของคำนามพหูพจน์เป็นพหูพจน์ เศษส่วนของคำนามเอกพจน์เป็นเอกพจน์
Two-thirds of the boys are absent. สองในสามของเด็กชายขาดเรียน
Two-thirds of the wall has been painted. สองในสามของฝาผนังได้ทาสีไปแล้ว
16.ชื่อหนังสือหรือบทความเป็นเอกพจน์ เช่น
Gulliver's travels was written by Swift. หนังสือเรื่องการเดินทางของกัลลิเวอร์ เขียนโดยสวิฟต์
***เอามาจากเว็บไซต์เเต่เป็นเนื้อหาที่เรียน คะ (สมุดทมี่จดไว้หายคะ) ***
บทที่2 negative Questions
Negative verb forms
The negative verb forms are made by putting not after an auxiliary verb.
The negative forms of infinitives and -ing forms are made by putting not before them. Do is not used.
Not isn’t the only word that can make a clause negative. There are some other negative words too. Examples are: never, hardly, seldom, rarely etc.
Compare:
We do not normally use words like some, somebody, something etc in negative clauses. Instead, we use non-assertive words like any, anybody, anything etc.
- She has invited us. (Affirmative)
- She has not invited us. (Negative)
- It was raining. (Affirmative)
- It was not raining. (Negative)
- She can knit. (Affirmative)
- She cannot knit. (Negative)
- I like reading. (Affirmative)
- I do not like reading. (Negative)
- She didn’t come. (NOT She didn’t to come.)
- You should not go. (NOT You don’t should go.)
The negative forms of infinitives and -ing forms are made by putting not before them. Do is not used.
- The best thing about weekends is not working.
- Ask John, not his father.
- Come early, but not before six.
- It was not John who broke the window, but his brother. (NOT Not John broke the window, but his brother.)
Not isn’t the only word that can make a clause negative. There are some other negative words too. Examples are: never, hardly, seldom, rarely etc.
Compare:
- He does not work.
- He hardly ever works.
- He never works.
- He seldom works.
We do not normally use words like some, somebody, something etc in negative clauses. Instead, we use non-assertive words like any, anybody, anything etc.
- I have caught some fish.
- I haven’t caught any fish.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)